ในการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ขั้น วิเคราะห์ภาระงาน
ปฏิบัติการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ด้วยการ ระบุงาน และภาระงาน
โดยใช้แนวทางการวิเคราะห์ภาระงานของหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานแล้วระบุเป็น
ชิ้นงานหรือภาระงานที่ผู้เรียนปฏิบัติ การออกแบบภาระงานที่ผู้เรียนต้องใช้ความรู้และทักษะ
(จากขั้น การ กําหนดจุดหมายการเรียนรู้ (setting learning goals) ลักษณะสําคัญของงานคือ
ต้องกระตุ้นหรือสร้างแรงจูงใจ ให้กับผู้เรียน มีความท้าทาย
แต่ไม่ยากเกินไปจนผู้เรียนทําไม่ได้ และในขณะเดียวกันต้องครอบคลุม
สาระสําคัญทางวิชาและทักษะที่ลึกซึ้ง เพื่อให้สามารถนําผลการประเมินไปใช้ได้อย่างสมเหตุสมผลและ
น่าเชื่อถือ
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างแผนการจัดประสบการณ์
บันทึกการสำรวจสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศใกล้โรงเรียน
|
แผนการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัส ว16101
ชั้นประถมศึกษาปีที่6 เวลา 8
ชั่วโมง
|
1.สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ
มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ว 2.1 ป6/1
สำรวจและอภิปรายความสัมพันธ์ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ต่าง ๆ
ว 2.1 ป6/2
อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในรูปของโซ่อาหารและสายใยอาหาร
ว 2.1 ป6/3 สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
กับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น
ว 2.1 ป6/3 สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
กับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น
มาตรฐาน ว 8.1
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้
การแก้ปัญหา
รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน
สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม
มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด
ว 8.1
ป.6/1 ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง
หรือสถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้
และตามความสนใจ
และตามความสนใจ
ว 8.1 ป.6/2 วางแผนการสังเกต
เสนอการสำรวจ ตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้า และคาดการณ์
สิ่งที่จะพบจากการสำรวจตรวจสอบ
สิ่งที่จะพบจากการสำรวจตรวจสอบ
ว 8.1 ป.6/3 เลือกอุปกรณ์
และวิธีการสำรวจตรวจสอบที่ถูกต้องเหมาะสมให้ได้ผลที่ครอบคลุม
และเชื่อถือได้
และเชื่อถือได้
ว 8.1 ป.6/4
บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห์ และตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์
ไว้นำเสนอผลและข้อสรุป
ไว้นำเสนอผลและข้อสรุป
ว 8.1 ป.6/5 สร้างคำถามใหม่เพื่อการสำรวจตรวจสอบต่อไป
ว 8.1 ป.6/6
แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบาย ลงความเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
ว 8.1 ป.6/7
บันทึกและอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบตามความเป็นจริง มีเหตุผลและ
มีประจักษ์พยานอ้างอิง
มีประจักษ์พยานอ้างอิง
ว 8.1 ป.6/8 นำเสนอ
จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา
และเขียนรายงานแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
2.สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น มีความสัมพันธ์กันทั้งทาง
กายภาพและชีวภาพ
ในรูปของโซ่อาหารและสายใยอาหาร
3. สาระการเรียนรู้
3. สาระการเรียนรู้
3.1 ความรู้
1)
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับแหล่งที่อยู่อาศัย
2) ห่วงโซ่อาหาร
3) สายใยอาหาร
4)
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
5)
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับแหล่งที่อยู่อาศัย
3.2 กระบวนการ
- มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสังเกต การวัด การจำแนก เปรียบเทียบ
การจัด กระทำข้อมูล การนำเสนอข้อมูล
การจัด กระทำข้อมูล การนำเสนอข้อมูล
3.3 เจตคติ
1) มีความสนใจ มุ่งมั่น
รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้
2) ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
4.1 มีความสามารถในการสื่อสาร
4.2 มีความสามารถในการคิด
4.3 มีความสามารถในการแก้ปัญหา
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
5.1 รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์
5.2 ใฝ่เรียนรู้
5.3 มุ่งมั่นในการทำงาน
6. ชิ้นงาน/ภาระงาน
6.1 บันทึกการสำรวจสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศใกล้โรงเรียน
6.2 แผนภาพสรุปความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในรูปแบบห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหาร
6.3 เขียน Mind mapping สรุปความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
7. การวัดและประเมินผล
7.1 วิธีการ เครื่องมือ
เกณฑ์การประเมิน
วิธีการ
|
เครื่องมือ
|
เกณฑ์การประเมิน
|
ตรวจบันทึกการสำรวจสิ่งมีชีวิตบริเวณโรงเรียนหรือใกล้เคียง
|
เกณฑ์ประเมินการสำรวจสิ่งมีชีวิต
|
ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับพอใช้ขึ้นไป
|
ตรวจ Mind mappingสรุปความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
|
เกณฑ์ประเมินบันทึกการตรวจ Mind
mappingสรุปความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
|
ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ พอใช้ขึ้นไป
|
ตรวจแผนภาพห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหาร
|
เกณฑ์ประเมินบันทึกการตรวจแผนภาพห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหาร
|
ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ พอใช้ ขึ้นไป
|
ตรวจแบบทดสอบประจำหน่วย
|
แบบทดสอบประจำหน่วย
|
ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ80
|
สังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล
|
เกณฑ์ประเมินการสังเกตการเรียนรายบุคคล
|
ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ พอใช้ขึ้นไป
|
7.2 เกณฑ์การประเมิน
7.2.1
เกณฑ์ประเมินการสำรวจสิ่งมีชีวิต
ประเด็นการประเมิน
|
ระดับคุณภาพ
|
|||
4
|
3
|
2
|
1
|
|
1.การเลือกเครื่องมือ
|
เลือกใช้อุปกรณ์/เครื่องมือในการสำรวจเหมาะสม
และสอดคล้องกับสิ่งที่สำรวจทุกขั้นตอน
|
เลือกใช้อุปกรณ์/เครื่องมือในการสำรวจเหมาะสม
กับสิ่งที่สำรวจ |
เลือกใช้อุปกรณ์/เครื่องมือในการสำรวจเหมาะสม
กับสิ่งที่สำรวจบางส่วน
|
เลือกใช้อุปกรณ์/เครื่องมือในการสำรวจไม่สอดคล้องกับ
สิ่งที่สำรวจ |
2.การดำเนินการสำรวจและบันทึกข้อมูล
|
ดำเนินการสำรวจตามขั้นตอน
ได้ข้อมูลครบถ้วน และบันทึกรายละเอียดครบถ้วน
|
ดำเนินการสำรวจตามขั้นตอน
ได้ข้อมูลครบถ้วน และบันทึกรายละเอียดได้บางส่วน
|
ดำเนินการสำรวจตามขั้นตอน และบันทึกข้อมูลได้บางส่วน
|
ดำเนินการสำรวจได้ตามขั้นตอน
แต่การบันทึกข้อมูลไม่เป็นระบบ
|
3.ความปลอดภัย
|
ใช้เครื่องมือได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว ปลอดภัย
ไม่เกิดอันตรายและเครื่องมือไม่เสียหาย
|
ใช้เครื่องมือได้ถูกต้อง ปลอดภัย ไม่เกิดอันตราย
|
ใช้เครื่องมือได้ถูกต้อง บางชิ้น ปลอดภัย
แต่เสี่ยงที่จะ เกิดอันตราย |
ใช้เครื่องมือไม่ถูกต้องและ
เสี่ยงที่จะ เกิดอันตราย |
เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน 10 - 12 คะแนน หมายถึง ระดับดีมาก
คะแนน 7 – 9 คะแนน หมายถึง ระดับดี
คะแนน 4 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับพอใช้
ต่ำกว่า 3 คะแนนลงไป หมายถึง ระดับปรับปรุง
7.2.2 เกณฑ์การประเมินแผนภาพห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหาร
ประเด็นการประเมิน
|
ระดับคุณภาพ
|
|||
4
|
3
|
2
|
1
|
|
1.ความถูกต้อง
|
เขียนแผนภาพ
โซ่อาหารและสายใยอาหารได้ถูกต้อง ชัดเจน เรียงตามลำดับ
|
เขียนแผนภาพ
โซ่อาหารและสายใยอาหารได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ และเรียงตามลำดับ
|
เขียนแผนภาพ
โซ่อาหารและสายใยอาหารได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ แต่ไม่ เรียงตามลำดับ
|
เขียนแผนภาพโซ่อาหารและสายใยอาหารไม่ถูกต้องตามลำดับ
|
2.ความสะอาดเรียบร้อย
|
ผลงานสะอาดไม่มีรอยขีดลบเรียบร้อยตกแต่งสวยงาม
|
ผลงานสะอาดมีรอยขีดลบเล็กน้อยเรียบร้อยตกแต่งบางส่วน
|
ผลงานไม่สะอาดมีรอยขีดลบเรียบร้อยไม่ตกแต่งผลงาน
|
ผลงานส่วนใหญ่ไม่สะอาดไม่เรียบร้อย
|
3. การตรงต่อเวลา
|
ส่งงานตรงเวลาที่กำหนด
|
ส่งช้ากว่ากำหนด 1 วัน
|
ส่งช้ากว่ากำหนด 2 วัน
|
ส่งช้ากว่ากำหนดเกิน 2 วัน
|
เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน 10 - 12 คะแนน หมายถึง ระดับดีมาก
คะแนน 7 – 9 คะแนน หมายถึง ระดับดี
คะแนน 4 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับพอใช้
ต่ำกว่า 3 คะแนนลงไป หมายถึง ระดับปรับปรุง
7.2.3 เกณฑ์การประเมินการเขียน Mind
Mappingสรุปความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ประเด็นการประเมิน
|
ระดับคุณภาพ
|
|||
4
|
3
|
2
|
1
|
|
Mind Mappingสรุปความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
|
เขียนMind Mappingแสดงความคิดรวบยอดหลักถูกต้อง
ตรงประเด็นขยายความคิดย่อยได้ถูกต้อง ครบทุกประเด็น
เชื่อมโยงความคิดรวบยอดหลัก ความคิดรองความคิดย่อยได้ชัดเจน ตกแต่งผลงานสวยงาม ประณีต
|
เขียนMind Mappingแสดงความคิดรวบยอดหลักถูกต้อง
ขยายความคิดย่อยได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบทุกประเด็น
เชื่อมโยงความคิดรวบยอดหลัก
ความคิดรองความคิดย่อยได้ตกแต่งผลงานสวยงาม
|
เขียน Mind Mapping ที่แสดงความคิดรวบยอดหลักถูกต้องขยายความคิดย่อย
มีจำนวนน้อยประเด็น
การเชื่อมโยงความคิดรวบยอดหลัก
ความคิดรองความคิดย่อยไม่สอดคล้อง ไม่มีการตกแต่งผลงาน
|
เขียน Mind Mapping ที่แสดงความคิดรวบยอดหลักไม่ตรงประเด็น
ขยายความคิดย่อยได้ไม่ถูกต้อง
ไม่เชื่อมโยงความคิดรวบยอดหลัก
ความคิดรองความคิดย่อย
ไม่สามารถแยกประเด็นหลัก ประเด็นรอง
ประเด็นย่อย
ไม่สวยงาม
|
เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน 4 คะแนน หมายถึง ระดับดีมาก
คะแนน 3 คะแนน หมายถึง ระดับดี
คะแนน 2 คะแนน หมายถึง ระดับพอใช้
คะแนน 1 คะแนน หมายถึง ระดับปรับปรุง
7.2.4 เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล
รายการประเมิน
|
ระดับคุณภาพ
|
|||
4
|
3
|
2
|
1
|
|
1. ความสนใจ
|
ตั้งใจเรียนและมีความกระตือรือร้น
ใฝ่เรียนรู้ ซักถามข้อสงสัยมีส่วนร่วมในการเรียนสม่ำเสมอ
|
ตั้งใจเรียนและมีความกระตือรือร้น
ที่จะมีส่วนร่วมในการเรียนสม่ำเสมอ
|
ตั้งใจเรียนและมีความกระตือรือร้น
ที่จะมีส่วนในการเรียนเป็นบางครั้ง
|
ตั้งใจเรียนและมีความกระตือรือร้น
ที่จะมีส่วนร่วมในการเรียนน้อย
|
2. มีส่วนร่วมในการอภิปราย
|
แสดงความเป็นผู้นำ
ให้ความร่วมมือแสดงความคิดเห็นทุกครั้ง ให้เหตุผลสมเหตุสมผล อย่างสม่ำเสมอ
|
ให้ความร่วมมือแสดงเหตุผล
ความคิดเห็นสม่ำเสมอ ให้ความร่วมมือ มีเหตุผลดี
|
ให้ความร่วมมือแสดงเหตุผล
แสดงความคิดเห็นเป็นบางครั้งมีเหตุผลพอใช้
|
ไม่กล้า แสดงความคิดเห็น
เป็นบางครั้ง
มีเหตุผลน้อย
|
3. ตรงต่อเวลา
|
ทำงานสำเร็จอย่างดี
มีความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลาที่กำหนดสม่ำเสมอ
|
ทำงานสำเร็จอย่างดี
มีความรับผิดชอบ มีความตรงต่อเวลา ผิดเวลา ไม่เกิน 1 ครั้ง
|
ทำงานสำเร็จอย่างดี
มีความตรงต่อเวลาเป็นบางครั้ง
ผิดเวลา ไม่เกิน 2 ครั้ง
|
ทำงานไม่ค่อยสำเร็จ
มีความตรงต่อเวลาน้อย
ผิดเวลา เกิน 3ครั้ง
|
เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน 10 - 12 คะแนน หมายถึง ระดับดีมาก
คะแนน 7 – 9 คะแนน หมายถึง ระดับดี
คะแนน 4 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับพอใช้
ต่ำกว่า 3 คะแนนลงไป หมายถึง ระดับปรับปรุง
8.กิจกรรมการเรียนรู้
|
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สำรวจชนิด ระบุและจัดจำแนกประเภทข้อมูล
แล้วบันทึกผลการสำรวจสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
ในบริเวณโรงเรียนหรือบริเวณใกล้เคียง
ในบริเวณโรงเรียนหรือบริเวณใกล้เคียง
2.ตั้งคำถามที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
3.วางแผนการสำรวจ นำเสนอผลการปฏิบัติงาน
ตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้า และคาดการณ์
สิ่งที่จะพบจากการสำรวจตรวจสอบ
4. เลือกอุปกรณ์ วิธีการสำรวจตรวจสอบที่ถูกต้องเหมาะสมให้ได้ผลที่ครอบคลุมและเชื่อถือได้และ
เก็บวัสดุอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง
เก็บวัสดุอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง
5.บันทึกข้อมูลผลการปฏิบัติกิจกรรมจากการสำรวจในเชิงปริมาณและคุณภาพ
วิเคราะห์ และ
ตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้ นำเสนอผลและข้อสรุป
ตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้ นำเสนอผลและข้อสรุป
กิจกรรมการเรียนรู้
1.ครูแจ้งเรื่องและจุดประสงค์การเรียนรู้แก่นักเรียนทราบก่อนการทำกิจกรรมการเรียนสอน
2.ครูนำภาพระบบนิเวศบริเวณต่างๆ
ให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่าบริเวณต่างๆ เหล่านั้น
มีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวหรือไม่ และนักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
มีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวหรือไม่ และนักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
3.นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ
5-6 คน แล้วให้นักเรียนกำหนดจุดหรือเลือกบริเวณที่จะสำรวจโดยให้
แต่ละกลุ่มเลือกสถานที่ไม่ซ้ำกัน กำหนดใช้เวลาสำรวจ 30 นาที
แต่ละกลุ่มเลือกสถานที่ไม่ซ้ำกัน กำหนดใช้เวลาสำรวจ 30 นาที
4. ครูอธิบายขั้นตอนวิธีการทำกิจกรรม และทบทวนการใช้อุปกรณ์ที่ใช้การทำกิจกรรม
คือ เทอร์มอ-มิเตอร์ แว่นขยาย กระดาษวัด pH
วิธีการใช้และความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์ แล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเตรียมอุปกรณ์ พร้อมตั้งหัวข้อที่จะสำรวจบริเวณโรงเรียนว่า มีสิ่งมีชีวิตชนิดใดอาศัยอยู่บ้าง
แล้วจัดกลุ่มสิ่งที่สำรวจและบันทึกผลการสำรวจเรื่อง
กลุ่มสิ่งมีชีวิตบริเวณโรงเรียน
5.ให้นักเรียนช่วยกันสรุปผลการทำกิจกรรมโดยเขียนแผนภาพความคิดแสดงความสัมพันธ์ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมที่นักเรียนสำรวจ
6.ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาค้นหา
เพื่อหาความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆที่อยู่ร่วมกัน
ในบริเวณที่แต่ละกลุ่มศึกษา โดยครูถามใช้คำถามกระตุ้นความคิด ในบริเวณนั้นมีสิ่งมีชีวิตชนิดใดบ้าง
และสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กับแหล่งที่อยู่อย่างไร เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง
ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า ถ้าสิ่งมีชีวิตตั้งแต่ 2
ชนิดขึ้นไปมาอาศัยอยู่ร่วมกันในแต่ละบริเวณบริเวณใด บริเวณหนึ่ง เรียกว่า
กลุ่มสิ่งมีชีวิตและบริเวณที่กลุ่มสิ่งมีชีวิตนั้นอาศัยอยู่ เรียกว่า
แหล่งที่อยู่อาศัย
7.นักเรียนตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงานจากการทำกิจกรรม
8.นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงสิ่งมีชีวิตบริเวณอื่นๆที่แต่ละกลุ่มนำเสนอ
จะพบสิ่งมีชีวิตแตกต่างกัน เช่น
ในบริเวณป่าไม้จะพบสัตว์ป่า ทุ่งกว้างจะพบสัตว์กินหญ้า
ในน้ำคลอง หรือทะเลจะพบสัตว์น้ำบางชนิดที่แตกต่างกันซึ่งจะสัมพันธ์กับแหล่งที่อยู่
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1.ภาพระบบนิเวศระบบแตกต่างกัน
2.บริเวณโรงเรียนหรือใกล้เคียง
3.อุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรม เทอร์มอมิเตอร์ แว่นขยาย กระดาษวัด pH
การวัดและประเมินผล
วิธีการ
|
เครื่องมือ
|
เกณฑ์การประเมิน
|
ตรวจบันทึกการสำรวจสิ่งมีชีวิตบริเวณโรงเรียนหรือใกล้เคียง
|
เกณฑ์การประเมินบันทึกการสำรวจสิ่งมีชีวิตบริเวณโรงเรียนหรือใกล้เคียง
|
ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับพอใช้ขึ้นไป
|
สังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล
|
เกณฑ์การสังเกตการเรียนรายบุคคล
|
ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ พอใช้ขึ้นไป
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น